

เกี่ยวกับ ปตท.สผ.
ความยั่งยืน
ความยั่งยืนที่ ปตท.สผ >
สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
กรอบแนวคิดและกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน
นโยบายและคู่มือปฏิบัติด้านความยั่งยืน
การกำกับดูแลด้านความยั่งยืนภายในองค์กร
การดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนบนรากฐานการกำกับดูแลกิจการที่ดี >
การบริหารจัดการบุคลากร
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
เทคโนโลยีและการจัดการองค์ความรู้
การปรับตัวเพื่อเพิ่มขีดความสามารถและรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
การกำกับดูแลกิจการที่ดีและจริยธรรมธุรกิจ
การบริหารความเสี่ยงและการจัดการภาวะวิกฤต
การควบคุมภายในและการกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
ความมั่นคงและปลอดภัยทางไซเบอร์
ความโปร่งใสด้านภาษีและการชำระเงิน
การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม >
การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
การบริหารจัดการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพและการบริการทางระบบนิเวศ
การบริหารจัดการการรั่วไหล
การบริหารจัดการของเสีย
การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
การสร้างคุณค่าสู่สังคม >
ความปลอดภัย มั่นคง อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม
สิทธิมนุษยชน
การบริหารจัดการผู้มีส่วนได้เสีย
การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
นักลงทุนสัมพันธ์


ค้นหาข้อมูล
ความยั่งยืน
Menu
การดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนบนรากฐานการกำกับดูแลกิจการที่ดี
การบริหารจัดการบุคลากร
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
เทคโนโลยีและการจัดการองค์ความรู้
การปรับตัวเพื่อเพิ่มขีดความสามารถและรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
การกำกับดูแลกิจการที่ดีและจริยธรรมธุรกิจ
การบริหารความเสี่ยงและการจัดการภาวะวิกฤต
การควบคุมภายในและการกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
ความมั่นคงและปลอดภัยทางไซเบอร์
ความโปร่งใสด้านภาษีและการชำระเงิน
กรณีตัวอย่างความยั่งยืน
กรณีตัวอย่างด้านความหลากหลายทางชีวภาพ "การพัฒนายานยนต์ใต้น้ำควบคุมระยะไกล (Remotely Operated Vehicle: ROV) สำหรับใช้ในการสำรวจ" และ "โครงการสำรวจและฝึกอบรมทางทะเล"
17 พ.ค. 2562
การพัฒนายานยนต์ใต้น้ำควบคุมระยะไกล (Remotely Operated Vehicle: ROV) สำหรับใช้ในการสำรวจ
ปตท.สผ. ลงนามบันทึกความร่วมมือทางวิชาการกับศูนย์พัฒนาประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาเพื่อร่วมกันพัฒนายานยนต์ใต้น้ำควบคุมระยะไกล (Remotely Operated Vehicle: ROV) สำหรับใช้ในการสำรวจและการวิจัยสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโดยความร่วมมือครั้งนี้เป็นครั้งแรกในประเทศไทยที่มีการพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์มาใช้เพื่อวัตถุประสงค์ด้านการสำรวจความเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม ในปี 2559 ปตท.สผ. ได้นำ ROV ที่พัฒนาแล้วไปทดลองสำรวจแหล่งปะการังเทียมที่จังหวัดระยอง และในปี 2559 ได้มีการใช้ ROV สำรวจความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมในบริเวณใต้แท่นผลิตนอกชายฝั่งและบริเวณโครงการประการังเทียมของบริษัทฯ
โครงการสำรวจและฝึกอบรมทางทะเล
โครงการสำรวจและฝึกอบรมทางทะเลมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะแวดล้อมทางทะเลและสภาวะทรัพยากรประมงทางทะเลของอ่าวไทยตอนกลาง เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยรุ่นใหม่และนักศึกษาในสาขาที่เกี่ยวข้องได้ฝึกปฏิบัติการสำรวจโดยใช้เครื่องมือสำรวจในสถานการณ์จริง โครงการความร่วมมือในการสำรวจและวิจัยระหว่างองค์กรและสถาบันต่างๆ ได้มีการเผยแพร่ผลการศึกษาเกี่ยวกับ โดย ปตท.สผ. และผู้ร่วมโครงการมีความคาดหวังว่า ผลที่ได้จากการสำรวจและวิจัยจะช่วยในการวางแผนการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวไทยได้อย่างยั่งยืน

บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 19-36 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900โทรศัพท์ : 66 (0) 2537-4000
โทรสาร : 66 (0) 2537-4444
เว็บไซต์นี้ใช้งานได้ดีกับ Chrome, Firefox, Safari และ Microsoft Edge
สงวนลิขสิทธิ์ © บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
สงวนลิขสิทธิ์ © บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)