

เกี่ยวกับ ปตท.สผ.
ความยั่งยืน
ความยั่งยืนที่ ปตท.สผ >
สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
กรอบแนวคิดและกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน
นโยบายและคู่มือปฏิบัติด้านความยั่งยืน
การกำกับดูแลด้านความยั่งยืนภายในองค์กร
การดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนบนรากฐานการกำกับดูแลกิจการที่ดี >
การบริหารจัดการบุคลากร
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
เทคโนโลยีและการจัดการองค์ความรู้
การปรับตัวเพื่อเพิ่มขีดความสามารถและรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
การกำกับดูแลกิจการที่ดีและจริยธรรมธุรกิจ
การบริหารความเสี่ยงและการจัดการภาวะวิกฤต
การควบคุมภายในและการกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
ความมั่นคงและปลอดภัยทางไซเบอร์
ความโปร่งใสด้านภาษีและการชำระเงิน
การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม >
การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
การบริหารจัดการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพและการบริการทางระบบนิเวศ
การบริหารจัดการการรั่วไหล
การบริหารจัดการของเสีย
การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
การสร้างคุณค่าสู่สังคม >
ความปลอดภัย มั่นคง อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม
สิทธิมนุษยชน
การบริหารจัดการผู้มีส่วนได้เสีย
การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน
นักลงทุนสัมพันธ์


ค้นหาข้อมูล
ความยั่งยืน
Menu
การดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนบนรากฐานการกำกับดูแลกิจการที่ดี
การบริหารจัดการบุคลากร
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
เทคโนโลยีและการจัดการองค์ความรู้
การปรับตัวเพื่อเพิ่มขีดความสามารถและรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
การกำกับดูแลกิจการที่ดีและจริยธรรมธุรกิจ
การบริหารความเสี่ยงและการจัดการภาวะวิกฤต
การควบคุมภายในและการกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
ความมั่นคงและปลอดภัยทางไซเบอร์
ความโปร่งใสด้านภาษีและการชำระเงิน
กรณีตัวอย่างความยั่งยืน
กรณีตัวอย่างด้านความหลากหลายทางชีวภาพ "การร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพและการบริการทางระบบนิเวศ"
17 พ.ค. 2562
การร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพและการบริการทางระบบนิเวศ
เพื่อความต่อเนื่องในการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ หลีกเลี่ยงและลดผลกระทบเชิงลบ และส่งเสริมให้เกิดผลลัพธ์เชิงบวก (Net Positive Impact) ปตท.สผ. ได้เข้าร่วมโครงการของมูลนิธิสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ และสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ในการตรวจประเมินธุรกิจที่รับผิดชอบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อเตรียมความพร้อมด้านการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน ด้วยการวิเคราะห์ผลกระทบของการดำเนินธุรกิจที่มีต่อความหลากหลายทางชีวภาพตลอดห่วงโซ่อุปทาน ทำให้บริษัทได้รับทราบถึงแนวทางในการผนวกประเด็นด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพเข้าสู่การดำเนินงานและระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ได้ อีกทั้งเป็นการสร้างโอกาสในการดำเนินธุรกิจ และแสดงภาพลักษณ์ที่ดีแก่สังคม โดยในปี 2561 โครงการพีทีทีอีพี 1 จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นโครงการนำร่องในการเข้าร่วมการตรวจประเมินดังกล่าว โดยประเด็นในการตรวจประเมินประกอบไปด้วย 9 ประเด็น ได้แก่ กลยุทธ์และการบริหารจัดการองค์กร, ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง, ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง และอสังหาริมทรัพย์, การจัดซื้อจัดจ้าง วัตถุดิบ พลังงาน น้ำ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการผลิต, ระบบโลจิสติกส์และการขนส่ง, ผลิตภัณฑ์และการบริการ, การขายและการตลาด, ทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจากการเข้าร่วมการตรวจประเมินครั้งนี้ ทำให้บริษัทได้นำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงการบริหารจัดการของบริษัทเพื่อลดผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพต่อไป

บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคาร A ชั้น 19-36 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900โทรศัพท์ : 66 (0) 2537-4000
โทรสาร : 66 (0) 2537-4444
เว็บไซต์นี้ใช้งานได้ดีกับ Chrome, Firefox, Safari และ Microsoft Edge
สงวนลิขสิทธิ์ © บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
สงวนลิขสิทธิ์ © บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)